บรรยากาศการอบรมเชิงปฎิบัติการณ์ มือใหม่ Sci-Fi

DSCN1843

DSCN1848

DSCN1856

ขอขอบคุณ
จตุรัสวิทยาศาสตร์ ชั้น 4 อาคารจามจุรีสแควร์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ผู้เอื้อเฟื้อสถานที่ และอุปกรณ์อำนวยความสะดวกมากมาย
ขอขอบคุณ อ.ชนินทร วรรณวิจิตร, คุณนุ้ย และบุคคลากร จตุรัสวิทยาศาสตร์ ทุกท่าน ที่กรุณาช่วยอำนวยความสะดวกจนกิจกรรมสามารถผ่านไปได้ด้วยดี
ขอขอบคุณ รศ.ดร.ชัยวัฒน์ คุประตกุล และวิทยากรทุกท่าน
และขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้

ขอบคุณครับ

หนึ่งความเห็นบน “บรรยากาศการอบรมเชิงปฎิบัติการณ์ มือใหม่ Sci-Fi”

  1. มีสองคำถามที่อยากจะตอบเพิ่มเติม(เพราะตอนอยู่ในช่วงเวลาคิดไม่ทันครับ 😀 )

    ๑. ตัวอย่างนิยายวิทยาศาสตร์แนวสังคม
    ที่ตอบไปคือ metropolis ( http://www.imdb.com/title/tt0017136/ )และ V for Vendetta ( http://www.imdb.com/title/tt0434409/ )
    ที่อยากจะเพิ่มเติมคือ
    Logan’s Run http://www.imdb.com/title/tt0074812/ (เกิดอะไรขึ้นถ้าประชากรล้นโลกและทรัพยากรเหลือน้อย)
    Fahrenheit 451
    Equilibrium http://www.imdb.com/title/tt0238380/ (จะเกิดอะไรขึ้นถ้ามนุษย์ไร้อารมณ์ความรู้สึก)

    พวกที่เล่าเรื่องผลกระทบในวงกว้าง หรือเหตุการณ์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงสังคม
    (พวก Mad Max หรือพวกหายนะโลกแตกที่เล่าภาพรวมของสังคม ก็เข้าข่ายครับ)

    ๒. การพัฒนาจาก “why to tell”(เล่าเรื่องอะไร) ไปยัง “what to tell”(เล่าอย่างไร)
    วิธีการง่ายๆคือเอาสิ่งที่จะเล่ามาอยู่ในเรื่องที่เล่า
    ยกตัวอย่าง

    ๑. ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว
    ก็ต้องมีคนทำดี มีคนทำชั่ว และความดีชนะอย่างไร(สองอันนี้ต้อง conflict กัน) และผลที่ได้รับของความชั่วนั้น

    ๒. ความลับไม่มีในโลก
    ก็ตองมีความลับ การพยายามปกปิด(อย่างสุดขั้ว) แต่สุดท้ายก็ถูกเปิดเผย

    พอจะได้นะ(มั้ง)

ใส่ความเห็น